- มายแมปของเพื่อน
- เรื่องแมลง
-เรื่องอวัยวะภายนอกของร่างกาย
-เรื่องกล้วย
-เรื่องดอกกุหลาบ
-เรื่องข้าว
-เรื่องนาฬิกา
-เรื่องยานพาหนะ
-เรื่องผลไม้
-เรื่องกระดุม
-เรื่องขนมไทย(กลุ่มตัวเอง)
- คำแนะนำของอาจารย์
หน่วย ขนมไทย
-ลักษณะ (น้ำ,แห้ง),(ภาค 4 ภาค)
รูปทรง,รูปร่าง,กลิ่น
-ประโยชน์
ทำไมต้องมีขนมไทย
-ข้อควรระวัง
อย่ารับประทานมากจะอ้วน
- อาจารย์สอนเรื่องขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะ
( นิตยา ประพฤติกิจ .2541 :17-19) ดังต่อไปนี้
1 การนับ (Couting) เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้เป็นการนับอย่างมีความหมาย
เช่น การนับ 1- 10
2 ตัวเลข (Number) เป็นการที่เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวันให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยวกับตัวเลข
3 จับคู่ (Matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่าง
ๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรืออยู่ประเภทเดียวกัน
4 การจัดประเภท (Classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของสิ่งต่าง
ๆ ความแตกต่างหรือเหมือนกันในบางเรื่องและสามารถจัดประเภทได้
5 การเปรียบเทียบ (Comparing) เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง
6การจัดลำดับ (Ordering) เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุด
ๆ หนึ่งตามคำสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดบล็อก5 บล็อกแท่งที่มีความยาวไมาเท่ากัน
7รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and Space) นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรูปทรงและเนื้อที่จากการเล่นปกติแล้วครูยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวงกลม
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้างและแคบ
8 การวัด (Measurement) มักให้เด็กลงมือวัดด้วยตนเองให้รู้จักความยาวและระยะ
รู้จักการชั่งน้ำหนักและรู้จักการประมาณอย่างคร่าวๆ
ก่อนที่เด็กจะรู้จักการวัดควรให้เด็กได้ฝึกฝนการเปรียบเทียบและการจัดลำดับมาก่อน
9 เซต (Set) เป็นการสอนในเซตอย่างง่าย
ๆ จากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวมีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น รองเท้ากับถุงเท้า
ถือว่าเป็นหนึ่งเซต
10 เศษส่วน (Fraution) ปกติแล้วการเรียนเศษส่วนมักจะเริ่มเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่
1 แต่ครูปฐมวัยสามารถสอนได้โดยส่วนรวม
ให้เด็กเห็นก่อนลงมือปฏิบัติเพื่อให้เด็กข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่ง
11 การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning) เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจำรูปแบบลวดลายและพัฒนาการจำแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต
ฝึกทำตามแบบและต่อให้สมบูรณ์
12 การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)
ช่วงวัย 5
ขวบขึ้นไปครูอาจเริ่มสอบเรื่องการอนุรักษ์ได้บ้าง โดยให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง
จุดมุ่งหมายของการสอนเรื่องนี้ก็คือ
ให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่าปริมาณของวัตถุจะยังคงที่ไม่ว่าจะย้ายหรือทำให้รูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม
เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 87 - 88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่ที่ครูควรศึกษาเพื่อจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
ดังนี้
การจัดกลุ่มหรือเซตสิ่งที่ควรสอน ได้แก่ จับคู่
1:1 การจับคู่สิ่งของ การรวมกลุ่ม
กลุ่มที่เท่ากันและความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลข
1 จำนวน 1 - 10
การฝึกนับ 1 - 10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
2 ระบบจำนวน (Number Sysem) และชื่อของตัวเลข
1= หนึ่ง 2 = สอง
3 ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่าง ๆ เช่น เซตรวม ฯลฯ
4 คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม (Properties
of Math)
5 ลำดับที่สำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์ ได้แก่
ประโยคคณิตศาสตร์ที่แสดงถึง จำนวน ปริมาตร คุณภาพต่าง ๆ เช่น มาก - น้อย สูง - ต่ำ
ฯลฯ
6 การวัด (Measurement) ได้แก่
การวัดสิ่งที่เป็นของเหลว สิ่งของ เงินตรา อุณหภูมิ
รวมถึงมาตราส่วนและเครื่องมือในการวัด
7 รูปทรงเลขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบรูปร่าง
ขนาด ระยะทาง เช่น รูปสิ่งของที่มีมิติต่าง ๆ
จากการเล่นเกมและจากการศึกษาถึงสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว
8สถิติและกราฟ ไก้แก่
การศึกษาจากการบันทึกทำแผนภูมิ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น