วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

 - อาจารย์พูดถึงเรื่องเสื้อสูท
   ว่าสำคัญหรือไม่   ทำมาแล้วคุ้มค่าหรือเปล่า
 - อาจารย์นัดสอบนอกตาราง วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
 - อาจารย์ให้เขียนเกี่ยวกับวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    - ความรู้ที่ได้รับ
    - ทักษะที่ได้
    - วิธีการสอน

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

 - เพื่อนสอบสอนเรื่อง ร่างกายของเรา
     วันที่1  รู้จักอวัยวะภายนอกร่างกาย
     วันที่ 2 ลักษณะ
     วันที่ 3 หน้าที่
     วันที่ 4 ประโยชน์
     วันที่ 5 วิธีการดูแลรักษา
 - อาจารย์แนะนำการเขียนกระดาน

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

 - เพื่อนกลุ่ม กระดุมสอบสอน
 - ข้อเสนอของอาจารย์
     - กรณีสิ่งของเล็กใช้ภาพตัดต่อได้
     - จะทำอะไรจะต้องมีวัตถุประสงค์
     - การแยกส่วนเป็นพื้นฐานของการลบ
     - ใช้ของจริง > รูปภาพ > สัญลักษณ์ > การอนุรักษ์
     - เพลง หลับตา
                 หลับตาเสียอ่อนเพลียทั้งวัน     นอนหลับแล้วฝันเห็นเทวดา
                 มาร่ายมารำงามขำโสภา          พอตื่นขึ้นมาเทวดาไม่มี
     - ต้องใช้รูปร่างเพราะไม่มีมิติ
     - ถ้าจะสอนเรื่องประโยชน์ต้องสอนด้วยนิทาน

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556

 - อาจารย์พูดเกี่ยวกับกีฬาสีเอก
 - พูดเกี่ยวกับกิจกรรมในวันพุธ
     - คัดเลือกการแสดงความสามารถของเอกปฐมวัยโดยมีการแสดงดังนี้
       - รำ = สว่างจิตร
       - ร้องเพลง = รัตติยา
       - โฆษณา = นิศาชล,ละมัย
       - การแสดงลิบซิ้ง = จุฑามาศ, นีรชา
       - เต้นประกอบเพลง = พลอยปภัส,เกตุวดี,มาลินี
       - ละครใบ้ = อัจฉรา,จันทร์สุดา
       - ตลก = ชวนชม, ดาราวรรณ,ณัฐชา
       - ผู้กำกับหน้าม้า = พวงทอง,นฎา
       - หน้าม้า = เพื่อนๆที่ไม่มีหน้าที่

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

  - สอบสอนเรื่อง ชื่อขนมไทย
 
     - เด็กๆรู้จักขนมอะไรบ้างค่ะ
     - มีใครรู้จักขนมทั้ง 2 ชนิดบ้างค่ะ
     - เด็กๆช่วยครูนักขนมที่อยู่ในถาดว่าทั้งหมดมีเท่าไหร่
     - ให้เด็กนำเลขฮินดูอารบิกมาติดที่ถาดขนมตามจำนวนชิ้น
     - ให้เด็กเล่นเกมการศึกษา คือ เกม จับคู่

 - เพื่อนกลุ่มที่ 2 สอนเรื่องข้าว
 - เพื่อนกลุ่มที่ 3 สอนเรื่องกล้วย

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2556

 - วันนี้สอบสอน เรื่อง ชื่อขนมไทย

 * อาจายรย์ติดประชุมด่วน เลยสอบสอนอาทิตย์ถัดไป

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556

 - อาจารย์สอนสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
       มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก รวมทั้งเป็นแนวทางในการกำกับ ตรวจสอบ และประเมินผล มาตรฐานการเรียนรู้จัดให้อยู่ภายใต้สาระหลัก ดังนี้
      สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐานค.ป. 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน และการใช้จำนวนในชีวิตจริง
     สาระที่ 2 : การวัด
มาตรฐาน ค.ป. 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
     สาระที่ 3 : เรขาคณิต
มาตรฐาน ค.ป. 3.1 : รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง มาตรฐาน ค.ป. 3.2 : รู้จัก จำแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
     สาระที่ 4 : พีชคณิต
มาตรฐาน ค.ป. 4.1 : เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
     สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค.ป. 5.1 : รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
     สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ครูควรคอยสอดแทรกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตามความเหมาะสมกับระดับอายุ

 - อาจารย์ให้ส่งดอกไม้จากแกนกระดาษทิชชู

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

 -ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากวันปีใหม่

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555

 - ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากวันสอบหลางภาค

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2555

 - ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ติดธุระแต่อาจารย์ให้ทำงานที่ได้รับมอบหมายไว้

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555

 - ไม่ได้เข้าเรียนเนื่องจากไม่สบาย

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5

วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2555

 - อาจารย์ให้นำเสนอความเรียงที่ไปแก้ไขใหม่

                                                                     ขนมไทย
 

     ให้เด็กๆนับจำนวนชิ้นของขนมที่อยู๋ในถาดแล้วเด็กๆ นำตัวเลขฮินดูอารบิกมาติดที่ถาดขนมให้ตรงกับจำนวนชิ้น เด็กๆลองจัดลำดับจากขนมชิ้นเล็กกับชิ้นใหญ่แล้วทำขนมมาเทียบชิ้นไหนเล็กชิ้นไหนใหญ่กว่ากัน จากนั้นให้เด็กๆ หยิบขนมรูปทรงสี่เหลี่ยม จัตุรัส จับคู่ กับขนมที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้ววันนี้คุณครูมีกิจกรรม Cooking มาให้ทำวุ้น แล้วให้เด็กๆจัดอุปกรณ์ เซต ในการทำวุ้นและเทลงไปในถาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ครูเตรียมไว้ให้ เมื่อวุ้นแข็งตัวให้เด็กๆ ตกแต่งลวดลายลงบนวุ้นที่อยู่ในถาดและให้เด็กๆลองแบ่งวุ้นเด็กๆจะแบ่งอย่างไร ให้จำนวนชิ้นของวุ้นให้เท่ากับจำนวนเพื่อนในห้อง 

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

 - อาจารย์ให้เขียนมายแมปเกี่ยวกับหน่วยตัวเองด้วยความคิดของตัวเอง(ขนมไทย)
 - นำเสนอความเรียงของหน่วยขนมไทยทั้ง 12 หัวข้อ

*งานที่ได้รับมอบหมาย
     อาจารย์ให้นำคำแนะนำไปแก้ไข แล้วเขียนมาใหม่ในอาทิตย์ถัดไป


     
  

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555



  •      มายแมปของเพื่อน 

- เรื่องแมลง
 -เรื่องอวัยวะภายนอกของร่างกาย
 -เรื่องกล้วย
 -เรื่องดอกกุหลาบ
 -เรื่องข้าว
 -เรื่องนาฬิกา
 -เรื่องยานพาหนะ
 -เรื่องผลไม้
 -เรื่องกระดุม
 -เรื่องขนมไทย(กลุ่มตัวเอง)
 

  •      คำแนะนำของอาจารย์

หน่วย ขนมไทย
 -ลักษณะ (น้ำ,แห้ง),(ภาค 4 ภาค)
     รูปทรง,รูปร่าง,กลิ่น
 -ประโยชน์
     ทำไมต้องมีขนมไทย
 -ข้อควรระวัง
     อย่ารับประทานมากจะอ้วน


  • อาจารย์สอนเรื่องขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย



     ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วยหัวข้อของเนื้อหาหรือทักษะ ( นิตยา ประพฤติกิจ .2541 :17-19) ดังต่อไปนี้
1 การนับ (Couting) เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้เป็นการนับอย่างมีความหมาย เช่น การนับ 1- 10
2 ตัวเลข (Number) เป็นการที่เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวันให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยวกับตัวเลข
3 จับคู่ (Matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่าง ๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรืออยู่ประเภทเดียวกัน
4 การจัดประเภท (Classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ ความแตกต่างหรือเหมือนกันในบางเรื่องและสามารถจัดประเภทได้
5 การเปรียบเทียบ (Comparing) เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง
6การจัดลำดับ (Ordering) เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุด ๆ หนึ่งตามคำสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดบล็อก5 บล็อกแท่งที่มีความยาวไมาเท่ากัน
7รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and Space) นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรูปทรงและเนื้อที่จากการเล่นปกติแล้วครูยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้างและแคบ
8 การวัด (Measurement) มักให้เด็กลงมือวัดด้วยตนเองให้รู้จักความยาวและระยะ รู้จักการชั่งน้ำหนักและรู้จักการประมาณอย่างคร่าวๆ ก่อนที่เด็กจะรู้จักการวัดควรให้เด็กได้ฝึกฝนการเปรียบเทียบและการจัดลำดับมาก่อน
9 เซต (Set) เป็นการสอนในเซตอย่างง่าย ๆ จากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวมีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น รองเท้ากับถุงเท้า ถือว่าเป็นหนึ่งเซต
10 เศษส่วน (Fraution) ปกติแล้วการเรียนเศษส่วนมักจะเริ่มเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 แต่ครูปฐมวัยสามารถสอนได้โดยส่วนรวม ให้เด็กเห็นก่อนลงมือปฏิบัติเพื่อให้เด็กข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่ง
11 การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning) เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจำรูปแบบลวดลายและพัฒนาการจำแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต ฝึกทำตามแบบและต่อให้สมบูรณ์
12 การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation) ช่วงวัย 5 ขวบขึ้นไปครูอาจเริ่มสอบเรื่องการอนุรักษ์ได้บ้าง โดยให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง จุดมุ่งหมายของการสอนเรื่องนี้ก็คือ ให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่าปริมาณของวัตถุจะยังคงที่ไม่ว่าจะย้ายหรือทำให้รูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม
         
      เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 87 - 88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่ที่ครูควรศึกษาเพื่อจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ดังนี้
การจัดกลุ่มหรือเซตสิ่งที่ควรสอน ได้แก่ จับคู่ 1:1 การจับคู่สิ่งของ การรวมกลุ่ม กลุ่มที่เท่ากันและความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลข
1 จำนวน 1 - 10 การฝึกนับ 1 - 10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
2 ระบบจำนวน (Number Sysem) และชื่อของตัวเลข 1= หนึ่ง 2 = สอง
3 ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่าง ๆ เช่น เซตรวม ฯลฯ
4 คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม (Properties of Math)
5 ลำดับที่สำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์ ได้แก่ ประโยคคณิตศาสตร์ที่แสดงถึง จำนวน ปริมาตร คุณภาพต่าง ๆ เช่น มาก - น้อย สูง - ต่ำ ฯลฯ
6 การวัด (Measurement) ได้แก่ การวัดสิ่งที่เป็นของเหลว สิ่งของ เงินตรา อุณหภูมิ รวมถึงมาตราส่วนและเครื่องมือในการวัด
7 รูปทรงเลขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบรูปร่าง ขนาด ระยะทาง เช่น รูปสิ่งของที่มีมิติต่าง ๆ จากการเล่นเกมและจากการศึกษาถึงสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว
8สถิติและกราฟ ไก้แก่ การศึกษาจากการบันทึกทำแผนภูมิ